- หน้าหลัก
- เกี่ยวกับสถาบัน
- เรียนที่สถาบันดนตรี
- บริการวิชาการ
- ข่าวสาร
- E–Service
- ติดต่อสถาบัน
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศ และมีความเข้าใจในศิลปะทางด้านดนตรีอย่างลึกซึ้ง มีความตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษาดนตรีทั้งในฐานะศาสตร์และศิลป์ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถบูรณาการองค์ความรู้เพื่อการสร้างสรรค์งานดนตรี และการแข่งขันในเวทีสากล งานค้นคว้าวิจัยทางด้านดนตรีที่มีคุณค่า มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตอาสา เห็นคุณค่า เข้าใจความแตกต่างทางความเชื่อ ความคิดทางวัฒนธรรม ตลอดจนสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีในการสร้างสรรค์ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
เพื่อสนองพระปณิธานในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในการพัฒนาดนตรีคลาสสิกในประเทศไทย หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนามุ่งผลิตบุคลากรทางด้านดนตรีที่มีความเป็นเลิศ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งตระหนักถึงบทบาทของดนตรีในการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และสามารถบูรณาการองค์ความรู้ทางด้านดนตรีกับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการสร้างสรรค์และพัฒนาสังคม
(ภาษาไทย : ชื่อเต็ม) ดุริยางคศาสตรบัณฑิต
(ภาษาไทย : อักษรย่อ) ดศ.บ.
(ภาษาอังกฤษ : ชื่อเต็ม) Bachelor of Music
(ภาษาอังกฤษ : อักษรย่อ) B.M.
(1) นักดนตรี (Musician)
(2) นักวิชาการด้านดนตรี (Music Academics)
(3) อาจารย์ด้านดนตรี (Music Lecturer)
(4) ผู้ประกอบการทางด้านดนตรี (Music Entrepreneur)
(5) ผู้สร้างสรรค์ทางด้านดนตรี (Music-Related Artist)
ภาคการศึกษาต้น เดือนสิงหาคม – ธันวาคม
ภาคการศึกษาปลาย เดือนมกราคม – พฤษภาคม
ภาคการศึกษาพิเศษฤดูร้อน เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม
หมายเหตุ : ทั้งนี้ระยะเวลาของแต่ละภาคการศึกษาอาจปรับเปลี่ยนได้ตามที่สถาบันฯ กาหนดต่อไป
1 เป็นผู้ที่สาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ทั้งในระบบโรงเรียนหรือนอกระบบโรงเรียน
2 ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา
3 มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา หรือสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด
“ Bachelor of Music Program (B.M.)”
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า | 30 | หน่วยกิต |
---|---|---|
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ | 6 | หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ | 6 | หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาภาษา | 12 | หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ | 6 | หน่วยกิต |
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า | 91 | หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาแกน | 26 | หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน | 59 | หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาเลือก | 6 | หน่วยกิต |
3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต |
“ Bachelor of Music Program (B.M.)”
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต | ||
---|---|---|
110 101 | ปรัชญาและสุนทรียศาสตร์ดนตรี ความหมาย พัฒนาการ แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานทางปรัชญาและสุนทรียศาสตร์ดนตรี เปรียบเทียบแนวคิดและความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาและสุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิตของมนุษย์ และเหตุผลในการสร้างสรรค์งานทางศิลปะที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคสมัยต่าง ๆ |
2 (2-0-4) |
110 102 |
มนุษย์กับการสร้างสรรค์ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม แนวคิดเกี่ยวกับการดาเนินชีวิต ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ค่านิยม และทัศนคติที่สัมพันธ์กับขนบธรรมเนียม ความเชื่อ และนวัตกรรม กับการสะท้อนประสบการณ์ของมนุษย์ผ่านการสร้างสรรค์ |
2 (2-0-4) |
110 103 |
ดนตรีคลาสสิกในบริบทสังคมโลก การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีตะวันตกกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมทางดนตรีอื่น ๆ การเมือง ศาสนา ชั้นชน ความเป็นชาตินิยม ความแปลกต่าง ทัศนศิลป์ วรรณคดี การหลอมรวมและอิทธิพลของการข้ามวัฒนธรรม บทบาทของดนตรีคลาสสิกในโลกปัจจุบัน |
2 (2-0-4) |
110 104 |
ปรัมปราคติและพิธีกรรมอาเซียน ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับปรัมปราคติและพิธีกรรมของอาเซียน โครงสร้าง ความสัมพันธ์ และการรับรู้ทัศนคติบริบททางสังคม ผลของนโยบายทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของอาเซียนที่มีต่อความเปลี่ยนแปลง และการสร้างความยั่งยืน |
2 (2-0-4) |
110 105 |
อัตลักษณ์ดนตรีอาเซียน การศึกษาเปรียบเทียบอัตลักษณ์ที่สำคัญของดนตรีในประเทศกลุ่มอาเซียน บทเพลง เครื่องดนตรี บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีและผู้บรรเลง ความสัมพันธ์ของดนตรีกับชุมชน การบูรณาการข้ามวัฒนธรรม การถ่ายทอดความรู้ทางด้านดนตรี และผลของนโยบายทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของอาเซียนที่มีต่อวัฒนธรรมดนตรี |
2 (2-0-4) |
110 106 |
ศิลปวิจักษ์ ลักษณะและความสำคัญของทัศนศิลป์ โดยมุ่งสร้างรสนิยม ความชื่นชมและความสานึกในคุณค่าของงานสร้างสรรค์ทางศิลปะจากตัวอย่างศิลปกรรมทั้งในอดีตและปัจจุบัน บทบาทของทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมของมนุษยชาติทั้งตะวันออกและตะวันตก |
2 (2-0-4) |
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต | ||
---|---|---|
110 201 |
ดนตรีกับสังคม ทฤษฎีและแนวคิดในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับสังคม อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมและอิทธิพลของสังคมที่มีต่อดนตรี ดนตรีในบริบทของสังคมที่แตกต่างกัน |
2 (2-0-4) |
110 202 |
มนุษย์กับสังคม ทฤษฎีและแนวคิดทางสังคม องค์ประกอบ โครงสร้างและกระบวนการทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของสังคม การเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการของสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ |
2 (2-0-4) |
110 203 |
ทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีให้เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคม จรรยาบรรณที่พึงปรารถนาสาหรับนักดนตรี และความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดการความรู้และกระบวนการการเรียนรู้ การพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ ความรู้เรื่องการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การวิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจ การวางแผนการดาเนินงาน การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ภาวะผู้นา การสื่อสารการจูงใจ และการจัดการระบบสารสนเทศ |
2 (2-0-4) |
110 204 |
จิตวิทยาการสื่อสาร กระบวนการในการรับรู้ การสร้างแรงจูงใจ อารมณ์ การเรียนรู้ ความทรงจา การสร้างสรรค์ และการสื่อความ โดยเชื่อมโยงกับบทบาทหน้าที่ทางสังคม ความสัมพันธ์กับกลุ่มคน และภูมิหลังทางวัฒนธรรม โครงสร้างและกระบวนวิธีการในการสื่อสารภายในและระหว่างบุคคล ในกลุ่มย่อย และกับสาธารณชน รวมถึงการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม |
2 (2-0-4) |
110 205 |
การเมืองและโครงสร้างสังคม การศึกษาเปรียบเทียบสังคมและการเมืองในกลุ่มประเทศต่าง ๆ ประวัติศาสตร์ยุคใหม่ของภูมิศาสตร์ด้านการเมืองและสังคม ระบบโครงสร้างและความสัมพันธ์ กระบวนการทางสังคม ปัจจัยที่ส่งผลและทิศทางของการเปลี่ยนแปลง |
2 (2-0-4) |
กลุ่มวิชาภาษา จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต | ||
---|---|---|
110 301 |
การอ่านและการเขียนภาษาไทย 1 ความชานาญในการใช้ภาษาไทยจากทักษะการอ่านและการเขียน โดยเน้นการจับใจความสำคัญและการสื่อสารเนื้อหาต่าง ๆ การคิดและการเขียนอย่างเป็นระบบ ทักษะการอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ การสร้างโครงเรื่องและการร่างเนื้อหา การปรับแก้ไขโครงร่าง และการเขียนบทสรุปที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา |
2 (1-2-3) |
110 302 |
การอ่านและการเขียนภาษาไทย 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาการอ่านและการเขียนภาษาไทย 1 กลยุทธ์และเทคนิคการเขียนเรียงความ ทักษะการอ่าน การพัฒนาทักษะการเขียนของแต่ละบุคคลที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการเขียนทั่วไปและการเขียนเชิงวิชาการ |
2 (1-2-3) |
110 303 |
วรรณกรรมไทยร่วมสมัย แนวความคิดและวิวัฒนาการของวรรณกรรมไทย วรรณกรรมไทยร่วมสมัยที่สะท้อนถึงสังคมไทยปัจจุบัน |
2 (2-0-4) |
110 304 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 ทักษะภาษาอังกฤษ โดยเน้นศึกษาโครงสร้างและไวยากรณ์ผ่านการเขียนและการอ่าน เพื่อช่วยให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษในระดับกลาง-ต่ำ ( Lower-Intermediate) ได้อย่างถูกต้อง |
2 (1-2-3) |
110 305 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 หรือสอบการวัดระดับความรู้วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 ได้ระดับ ผ่าน ทักษะภาษาอังกฤษ โดยเน้นศึกษาโครงสร้างและไวยากรณ์ผ่านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน เพื่อช่วยให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษในระดับกลาง (Intermediate) ได้อย่างถูกต้อง |
2 (1-2-3) |
110 306 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 1 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 หรือสอบการวัดระดับความรู้วิชาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 1 ได้ระดับ ผ่าน กลยุทธ์และเทคนิคการเขียนย่อหน้าสั้น ทักษะการอ่าน การพัฒนาทักษะการเขียนของแต่ละบุคคลให้เหมาะสมกับการเขียนระดับหนึ่งย่อหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ |
2 (1-2-3) |
110 307 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 1 หรือผ่านสอบการวัดระดับความรู้วิชาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 2 ได้ระดับ ผ่าน กลยุทธ์และเทคนิคการเขียนเรียงความสั้น ทักษะการอ่าน การพัฒนาทักษะการเขียนของแต่ละบุคคลให้เหมาะสมกับการเขียนรายงานวิชาการสั้น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ |
2 (1-2-3) |
110 308 |
ภาษาฝรั่งเศส 1 พื้นฐานและโครงสร้างที่สำคัญของภาษาฝรั่งเศส โดยอาศัยทักษะการอ่าน ฟัง พูด และเขียน |
2 (1-2-3) |
110 309 |
ภาษาฝรั่งเศส 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาภาษาฝรั่งเศส 1 ได้ไม่ต่ำกว่าระดับ C หรือสอบการจัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศส 2 ได้ระดับ ผ่าน ไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศส ทักษะการอ่าน ฟัง พูด และเขียนในระดับสูงขึ้น ความรู้เบื้องต้นทางด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับประเทศฝรั่งเศส |
2 (1-2-3) |
110 310 |
ภาษาเยอรมัน 1 พื้นฐานและโครงสร้างที่สำคัญของภาษาเยอรมัน โดยอาศัยทักษะการอ่าน ฟัง พูด และเขียน |
2 (1-2-3) |
ภาษาเยอรมัน 2 |
ภาษาเยอรมัน 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาภาษาเยอรมัน 1 ได้ไม่ต่ำกว่าระดับ C หรือสอบการจัดระดับความรู้ภาษาเยอรมันได้ระดับ ผ่าน ไวยากรณ์เยอรมัน ทักษะการอ่าน ฟัง พูด และเขียนในระดับสูงขึ้น ความรู้เบื้องต้นทางด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับประเทศเยอรมัน |
2 (1-2-3) |
110 312 |
ภาษาอิตาเลียน 1 พื้นฐานและโครงสร้างที่สำคัญของภาษาอิตาเลียน โดยอาศัยทักษะการอ่าน ฟัง พูด และเขียน |
2 (1-2-3) |
110 313 |
ภาษาอิตาเลียน 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาภาษาอิตาเลียน 1 ได้ไม่ต่ำกว่าระดับ C หรือสอบการจัดระดับความรู้ภาษาอิตาเลียนได้ระดับ ผ่าน ศึกษาไวยากรณ์ภาษาอิตาเลียน ทักษะการอ่าน ฟัง พูด และเขียนในระดับสูงขึ้น ความรู้เบื้องต้นทางด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับประเทศอิตาเลียน |
2 (1-2-3) |
110 314 |
ภาษาจีน 1 โครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญของภาษาจีน ทั้งด้านการออกเสียงและด้านไวยากรณ์ วิธีการเขียนตัวอักษรจีน 250 ตัว ตลอดจนวงศัพท์ที่เกิดจากตัวอักษรจีนเหล่านั้น |
2 (1-2-3) |
110 315 |
ภาษาจีน 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาภาษาจีน 1 ได้ไม่ต่ำกว่าระดับ C หรือสอบการจัดระดับความรู้ภาษาจีนได้ระดับ ผ่าน โครงสร้างที่สำคัญของภาษาจีน ทั้งด้านการออกเสียงและด้านไวยากรณ์ รูปประโยคที่ซับซ้อนขึ้น และตัวอักษร 300 ตัว |
2 (1-2-3) |
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต | ||
---|---|---|
110 401 |
ดนตรีกับนวัตกรรม พัฒนาการของนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ทางดนตรี เทคโนโลยีกับดนตรี การบันทึกเสียง การบันทึกโน้ตเพลง การใช้เทคโนโลยีในการแสดงและการฝึกซ้อม พื้นฐานฟิสิกส์เกี่ยวกับเสียงและคลื่นเสียง และระบบการรับรู้เสียงของมนุษย์ |
2 (2-0-4) |
110 402 |
การเสริมสร้างสุขภาพแบบองค์รวม การเสริมสร้างสุขภาพแบบองค์รวมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพตนเองแบบบูรณาการ กลไกและการทางานของร่างกายเบื้องต้น โภชนาการ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สุขอนามัย การพัฒนาสมรรถนะทางกายเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ จิตใจ และอารมณ์ การป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต การฝึกสมาธิ |
2 (2-0-4) |
110 403 |
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 พัฒนาการของเทคโนโลยีและนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ทิศทางการพัฒนา แนวทางในการประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์เพื่อสร้างศักยภาพในเชิงเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการ การใช้ประโยชน์ และการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา |
2 (2-0-4) |
110 404 |
วิธีวิทยาในการวิจัย วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 2 วิธีการและเครื่องมือที่จาเป็นเพื่อช่วยในการจาแนกและค้นคว้าหัวข้อที่สนใจ และการสร้างความรู้ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนั้น ๆ ได้ ขั้นตอนและตรรกะในการทาวิจัยของนักวิจัยดนตรี วิธีการดาเนินการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิพากษ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวอย่างงานวิจัย การพัฒนาโครงการวิจัยใหม่ในหัวข้อที่นักศึกษาเลือก โดยการนาเสนอวิธีการดาเนินวิจัยและผลการวิจัยผ่านเว็ปไซต์ |
2 (2-0-4) |
110 405 |
วิชาชีพดนตรีกับความเจ็บป่วย การป้องกัน และการบาบัดรักษา กรณีศึกษาสภาวะความเจ็บป่วยอันเกิดจากการประกอบวิชาชีพดนตรี ลักษณะเบื้องต้นของอาการ การบาบัดและการรักษาเบื้องต้น ผลที่มีต่อวิชาชีพและสภาวะทางจิตใจ และการป้องกันความเจ็บป่วยอันเกิดจากการประกอบวิชาชีพดนตรี |
2 (2-0-4) |
หมวดวิชาเฉพาะด้าน จำนวนไม่น้อยกว่า 91 หน่วยกิต | ||
---|---|---|
กลุ่มวิชาแกน 26 หน่วยกิต | ||
111 101 |
ทักษะผู้แสดงดนตรี 1 บูรณาการทฤษฎีดนตรี ทักษะการฟัง และทักษะการปฏิบัติคีย์บอร์ด รวมกันเป็นทักษะทางดนตรีที่นักศึกษาสามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านทฤษฎีดนตรีมาปฏิบัติบนคีย์บอร์ด และสามารถบอกองค์ประกอบของดนตรีผ่านการฟังและการแสดงบทเพลงได้ เนื้อหาวิชาประกอบด้วย ขั้นคู่ บันไดเสียง โหมด ทรัยแอดในตาแหน่งพื้นต้นและตาแหน่งพลิกกลับครั้งที่ 1 การประสานเสียงขั้นพื้นฐานในระบบเสียงไดอาโทนิก การเขียนเสียงประสานสี่แนว แนวเบสตัวเลข โน้ตนอกคอร์ด เคเดนซ์ และอัตราจังหวะธรรมดา |
3 (1-4-4) |
111 102 |
ทักษะผู้แสดงดนตรี 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 1 บูรณาการทฤษฎีดนตรี ทักษะการฟัง และทักษะการปฏิบัติคีย์บอร์ด รวมกันเป็นทักษะทางดนตรีที่นักศึกษาสามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านทฤษฎีดนตรีมาปฏิบัติบนคีย์บอร์ด และสามารถบอกองค์ประกอบของดนตรีผ่านการฟังและการแสดงบทเพลงได้ เนื้อหาวิชาประกอบด้วย การประสานเสียงแบบอิงกุญแจเสียง ทรัยแอดไดอาโทนิก คอร์ดทบเจ็ดทุกการพลิกกลับ การเขียนเสียงประสานสี่แนว อัตราจังหวะธรรมดา และอัตราจังหวะผสม |
3 (1-4-4) |
111 103 |
ทักษะผู้แสดงดนตรี 3 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 2 บูรณาการทฤษฎีดนตรี ทักษะการฟังและทักษะการปฏิบัติคีย์บอร์ด รวมกันเป็นทักษะทางดนตรีที่นักศึกษาสามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านทฤษฎีดนตรีมาปฏิบัติบนคีย์บอร์ด และสามารถบอกองค์ประกอบของดนตรีผ่านการฟังและการแสดงบทเพลงได้ เนื้อหาวิชาประกอบด้วย การประสานเสียงแบบโครมาติก คอร์ดโดมินันท์ระดับสอง, คอร์ดแปรในบันไดเสียงไมเนอร์ การเปลี่ยนกุญแจเสียง การเขียนเสียงประสานสี่แนว อัตราจังหวะธรรมดา อัตราจังหวะผสม อัตราจังหวะซ้อน และสังคีตลักษณ์เบื้องต้น |
3 (1-4-4) |
111 104 |
ทักษะผู้แสดงดนตรี 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 3 บูรณาการทฤษฎีดนตรี ทักษะการฟัง และทักษะการปฏิบัติคีย์บอร์ด รวมกันเป็นทักษะทางดนตรีที่นักศึกษาสามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านทฤษฎีดนตรีมาปฏิบัติบนคีย์บอร์ด และสามารถบอกองค์ประกอบของดนตรีผ่านการฟังและการแสดงบทเพลงได้ เนื้อหาวิชาประกอบด้วย การประสานเสียงแบบโครมาติก คอร์ดโดมินันท์ระดับสอง คอร์ดแปรในบันไดเสียงไมเนอร์ คอร์ดยืม คอร์ดแนวนอน คอร์ดนิอาโพลิตัน และคอร์ดคู่หกออกเมนเทด การเปลี่ยนกุญแจเสียง การเขียนเสียงประสานสี่แนว อัตราจังหวะผสม และอัตราจังหวะซ้อน สังคีตลักษณ์ โมทีฟและการพัฒนาโมทีฟ |
3 (1-4-4) |
111 105 |
ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 1 ประวัติศาสตร์ดนตรีตั้งแต่ยุคกลางจนถึงยุคเรอเนอซองส์ผ่านสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ |
2 (2-0-4) |
111 106 |
ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 1 ประวัติศาสตร์ดนตรีตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 17 จนถึงสมัยศตวรรษที่ 18 ผ่านสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ |
2 (2-0-4) |
111 107 |
ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 2 ประวัติศาสตร์ดนตรีตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 19 จนถึงสมัยกลางศตวรรษที่ 20 ผ่านสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ |
2 (2-0-4) |
111 108 |
ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 3 ประวัติศาสตร์ดนตรีร่วมสมัยผ่านสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ |
2 (2-0-4) |
111 109 |
ดนตรีเพื่อประชาสังคม 1 กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาวะและความต้องการของกลุ่มชุมชน |
1 (0-2-1) |
111 110 |
ดนตรีเพื่อประชาสังคม 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาดนตรีเพื่อประชาสังคม 1 กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาวะ และความต้องการของกลุ่มชุมชนที่แตกต่างกัน โดยจัดในพื้นที่หรือกลุ่มชุมชนที่แตกต่างจากดนตรีเพื่อประชาสังคม 1 และครอบคลุมกลุ่มผู้ชมที่มากขึ้น |
1 (0-2-1) |
111 111 |
ดนตรีเพื่อประชาสังคม 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาดนตรีเพื่อประชาสังคม 2 กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาวะ และความต้องการของกลุ่มชุมชนที่แตกต่างกัน โดยจัดในพื้นที่หรือกลุ่มชุมชนที่แตกต่างจากดนตรีเพื่อประชาสังคม 2 และครอบคลุมกลุ่มผู้ชมที่มากขึ้น |
1 (0-2-1) |
111 112 |
ดนตรีเพื่อประชาสังคม 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาดนตรีเพื่อประชาสังคม 3 กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาวะ และความต้องการของกลุ่มชุมชนที่แตกต่างกัน โดยจัดในพื้นที่หรือกลุ่มชุมชนที่แตกต่างจากดนตรีเพื่อประชาสังคม 3 และครอบคลุมกลุ่มผู้ชมที่มากขึ้น |
1 (0-2-1) |
111 113 |
การขับร้องประสานเสียง 1 การศึกษาบทเพลงประสานเสียงและเทคนิคการใช้เสียง ประกอบด้วย ท่ายืน การหายใจ การวางเสียง การออกเสียงอักขระวิธี การแสดงอารมณ์ความรู้สึก การฝึกซ้อมร้องเพลงแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ทักษะการร้องประสานเสียง ประกอบด้วย การจัดความสมดุล การปรับเสียงให้เข้ากับผู้อื่น และการใช้สีสัน |
2 (0-2-4) |
111 114 |
การขับร้องประสานเสียง 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการขับร้องประสานเสียง 1 การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทเพลงขับร้องประสานเสียงและเทคนิคการใช้เสียง ประกอบด้วย ท่ายืน การหายใจ การวางเสียง การออกเสียงอักขระวิธี การแสดงอารมณ์ความรู้สึก การฝึกซ้อมร้องเพลงแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ทักษะการร้องประสานเสียง ประกอบด้วย การจัดความความสมดุล การปรับเสียงให้เข้ากับผู้อื่น และการใช้สีสัน |
2 (0-2-4) |
กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน จำนวน 59 หน่วยกิต | ||
111 201 |
ทักษะวิชาเอก 1 พัฒนาการทักษะเครื่องดนตรีเอกกับอาจารย์ผู้สอนเป็นรายบุคคล โดยเน้นศึกษาบทเพลงและแบบฝึกหัดที่ฝึกพื้นฐานสาคัญสาหรับเครื่องดนตรีเอก หลักการพื้นฐานในการบรรเลงเครื่องดนตรี บทบาทและหน้าที่ของนักดนตรีทั้งในฐานะของนักแสดงดนตรีเดี่ยวและนักแสดงดนตรีประกอบ การตีความบทเพลงและทักษะการแสดงต่อหน้าผู้ชม |
3 (1-4-4) |
111 202 |
ทักษะวิชาเอก 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชาเอก 1 วิชาต่อเนื่องจาก ทักษะวิชาเอก 1 การฝึกทักษะเครื่องดนตรีเอกในระดับที่สูงขึ้น โดยเน้นการพัฒนาเทคนิกการบรรเลงซึ่งพบในบทเพลงและแบบฝึกหัดที่ยากขึ้น |
3 (1-4-4) |
111 203 |
ทักษะวิชาเอก 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชาเอก 2 วิชาต่อเนื่องจาก ทักษะวิชาเอก 2 ทักษะเครื่องดนตรีเอกในระดับที่ยากขึ้น และใช้บทเพลงจากหลายยุคสมัย รวมถึงการนาความรู้ด้านทฤษฎีและทักษะการฟังจากการเรียนชั้นปีที่ 1 มาช่วยในการตีความบทเพลง |
3 (1-4-4) |
111 204 |
ทักษะวิชาเอก 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชาเอก 3 วิชาต่อเนื่องจาก ทักษะวิชาเอก 3 ทักษะเครื่องดนตรีเอกในระดับที่ยากขึ้น และใช้บทเพลงจากหลายยุคสมัย รวมถึงการนาความรู้ด้านทฤษฎีและทักษะการฟังจากการเรียนชั้นปีที่ 1 มาช่วยในการตีความบทเพลง |
3 (1-4-4) |
111 205 |
ทักษะวิชาเอก 5 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชาเอก 4 วิชาต่อเนื่องจาก ทักษะวิชาเอก 4 ทักษะเครื่องดนตรีเอกในระดับที่ยากขึ้น และใช้บทเพลงจากหลายยุคสมัย รวมถึงการนาความรู้ด้านการประสานเสียง สังคีตลักษณ์ และประวัติศาสตร์ดนตรี มาช่วยในการตีความบทเพลง |
3 (1-4-4) |
111 206 |
ทักษะวิชาเอก 6 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชาเอก 5 วิชาต่อเนื่องจาก ทักษะวิชาเอก 5 ทักษะเครื่องดนตรีเอกในระดับที่ยากขึ้น และใช้บทเพลงจากหลายยุคสมัย รวมถึงการนาความรู้ด้านการประสานเสียง สังคีตลักษณ์ และประวัติศาสตร์ดนตรี มาช่วยในการตีความบทเพลง และการเตรียมโครงการการแสดงของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 |
3 (1-4-4) |
111 207 |
ทักษะวิชาเอก 7 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชาเอก 6 วิชาต่อเนื่องจาก ทักษะวิชาเอก 6 ทักษะเครื่องดนตรีเอกในระดับที่ยากขึ้น และใช้บทเพลงจากหลายยุคสมัย โดยเน้นการบูรณาการความรู้ต่างๆ ด้านดนตรีเพื่อเตรียมการแสดงปัจฉิมนิทัศน์ของนักศึกษา |
3 (1-4-4) |
111 208 |
ทักษะวิชาเอก 8 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชาเอก 7 วิชาต่อเนื่องจาก ทักษะวิชาเอก 7 ทักษะเครื่องดนตรีเอกในระดับที่ยากขึ้น และใช้บทเพลงจากหลายยุคสมัย โดยเน้นการบูรณาการความรู้ต่างๆ ด้านดนตรี และอาจรวมถึงศาสตร์ด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมการแสดงปัจฉิมนิทัศน์ของนักศึกษา |
3 (1-4-4) |
111 209 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 1 ทักษะการแสดงดนตรีกลุ่มเล็กร่วมกับนักดนตรีคนอื่น ๆ โดยไม่ใช้วาทยกร แบบฝึกหัดและบทเพลงที่เหมาะสมกับการเล่นวงแชมเบอร์ในระดับพื้นฐาน บทบาทและหน้าที่ของนักดนตรีในฐานะผู้บรรเลงเดี่ยวและสมาชิกของวง |
1 (0-2-1) |
111 210 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวง 1 เนื้อหาต่อจาก วิชาการบรรเลงรวมวง 1 ทักษะการแสดงดนตรีในวงแชมเบอร์ แบบฝึกหัดและบทเพลงที่เหมาะสมกับการเล่นวงแชมเบอร์ในระดับสูงขึ้น บทบาทและหน้าที่ของนักดนตรีในฐานะผู้บรรเลงเดี่ยวและสมาชิกของวง |
1 (0-2-1) |
111 211 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวง 2 เนื้อหาต่อจาก วิชาการบรรเลงรวมวง 2 ทักษะการแสดงดนตรีในวงแชมเบอร์ แบบฝึกหัดและบทเพลงที่เหมาะสมกับการเล่นวงแชมเบอร์ในระดับสูงขึ้น; บทบาทและหน้าที่ของนักดนตรีในฐานะผู้บรรเลงเดี่ยวและสมาชิกของวง |
1 (0-2-1) |
111 212 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวง 3 วิชาต่อเนื่องจากการบรรเลงรวมวง 3 ระดับบทเพลงที่มีความยากขึ้น ยุคเพลงและการแสดงดนตรีที่เข้มข้นขึ้น บทบาทและหน้าที่ของนักดนตรีทั้งในฐานะนักแสดงเดี่ยวและสมาชิกในวงดนตรี |
1 (0-2-1) |
111 213 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 5 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวง 4 วิชาต่อเนื่องจากการบรรเลงรวมวง 4 ระดับบทเพลงที่มีความยากขึ้น ยุคเพลงและการแสดงดนตรีที่เข้มข้นขึ้น บทบาทและหน้าที่ของนักดนตรีทั้งในฐานะนักแสดงเดี่ยวและสมาชิกในวงดนตรี |
1 (0-2-1) |
111 214 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 6 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวง 5 วิชาต่อเนื่องจากการบรรเลงรวมวง 5 ระดับบทเพลงที่มีความยากขึ้นและจากหลายยุคสมัย |
1 (0-2-1) |
111 215 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 1 พื้นฐานวิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ การแสดงดนตรีร่วมกับนักดนตรีกลุ่มใหญ่และวาทยากร |
1 (0-2-1) |
111 216 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวงใหญ่ 1 พื้นฐานวิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ การแสดงดนตรีร่วมกับนักดนตรีกลุ่มใหญ่และวาทยากร |
1 (0-2-1) |
111 217 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวงใหญ่ 2 พื้นฐานวิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ การแสดงดนตรีร่วมกับนักดนตรีกลุ่มใหญ่และวาทยากร |
1 (0-2-1) |
111 218 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวงใหญ่ 3 พื้นฐานวิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ การแสดงดนตรีร่วมกับนักดนตรีกลุ่มใหญ่และวาทยากร |
1 (0-2-1) |
111 219 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 5 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวงใหญ่ 4 วิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ การแสดงดนตรีร่วมกับนักดนตรีกลุ่มใหญ่และวาทยากร การแสดงในตาแหน่งที่มีความละเอียดและยากขึ้น รวมถึงการได้มีส่วนร่วมในการแสดงเดี่ยวในบทเพลง |
1 (0-2-1) |
111 220 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 6 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวงใหญ่ 5 วิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ ธรรมชาติของการแสดงดนตรีร่วมกันของเครื่องดนตรีหลากหลายชนิด การแสดงในตาแหน่งที่มีความละเอียดและยากขึ้น รวมถึงการได้มีส่วนร่วมในการแสดงเดี่ยวในบทเพลง |
1 (0-2-1) |
111 221 |
ชั่วโมงการแสดง 1 เข้าชมการแสดงคอนเสิร์ตประจาอาทิตย์ของนักศึกษา และ/หรือ ชมการแสดงคอนเสิร์ตที่ได้รับการอนุมัติจากผู้สอน การวิพากษ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดง |
1 (0-2-1) |
111 222 |
ชั่วโมงการแสดง 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาชั่วโมงการแสดง 1 เข้าชมการแสดงคอนเสิร์ตประจาอาทิตย์ของนักศึกษา และ/หรือ ชมการแสดงคอนเสิร์ตที่ได้รับการอนุมัติจากผู้สอน การวิพากษ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดง |
1 (0-2-1) |
111 223 |
ชั่วโมงการแสดง 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาชั่วโมงการแสดง 2 เข้าชมการแสดงคอนเสิร์ตประจาอาทิตย์ของนักศึกษา และ/หรือ ชมการแสดงคอนเสิร์ตที่ได้รับการอนุมัติจากผู้สอน การวิพากษ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดง |
1 (0-2-1) |
111 224 |
ชั่วโมงการแสดง 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาชั่วโมงการแสดง 3 เข้าชมการแสดงคอนเสิร์ตประจาอาทิตย์ของนักศึกษา และ/หรือ ชมการแสดงคอนเสิร์ตที่ได้รับการอนุมัติจากผู้สอน การวิพากษ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดง |
1 (0-2-1) |
111 225 |
ชั่วโมงการแสดง 5 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาชั่วโมงการแสดง 4 เข้าชมการแสดงคอนเสิร์ตประจาอาทิตย์ของนักศึกษา และ/หรือ ชมการแสดงคอนเสิร์ตที่ได้รับการอนุมัติจากผู้สอน การวิพากษ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดง |
1 (0-2-1) |
111 226 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 1 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 227 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงเปียโนประกอบ 1 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 228 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงเปียโนประกอบ 2 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 229 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงเปียโนประกอบ 3 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 230 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 5 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงเปียโนประกอบ 4 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 231 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 6 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงเปียโนประกอบ 5 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 232 |
การศึกษาภาคบริบท 1 ปฐมนิเทศเกี่ยวกับกลุ่มรายวิชา หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านดนตรี การทางานร่วมกันแบบสหวิทยาการ บทนาเข้าสู่เรื่องปัจจัยทางดนตรี บทนาเข้าสู่เรื่องการวิเคราะห์ วิธีการฝึกซ้อมและการบันทึกการฝึกซ้อม |
2 (1-2-3) |
111 233 |
การศึกษาภาคบริบท 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการศึกษาภาคบริบท 1 การสื่อสารดนตรี กรณีศึกษา การศึกษาเกี่ยวกับบทเพลงของตนเอง; การเขียนบท; วิดีโอสั้นเกี่ยวกับโปรแกรมการแสดง (ส่วนบุคคล/เดี่ยว) |
2 (1-2-3) |
111 234 |
การศึกษาภาคบริบท 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการศึกษาภาคบริบท 2 วิจารณญาณการแสดง แนวคิดของความเป็นเลิศทางด้านดนตรี ปัญหาในการซ้อมและการแสดง (ส่วนบุคคลและกลุ่ม) เช่น การฝึกเขียน อเล็กแซนเดอร์เทคนิค และการตีความ การฝึกซ้อมเพื่อการแสดง จิตวิทยาการแสดงดนตรี |
2 (1-2-3) |
111 235 |
การศึกษาภาคบริบท 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการศึกษาภาคบริบท 3 การเป็นนักดนตรีในศตวรรษที่ 21, กรณีศึกษา, ทักษะการเป็นผู้ประกอบการ เช่น การเขียนประวัติ การทาเว็ปไซต์ และการจัดการโครงการ; การจัดโปรแกรมและดูแลคอนเสิร์ต (กลุ่ม) การนาเสนอในรูปแบบคอนเสิร์ต (ภายนอกสถาบันกัลยาฯ) และการทางานร่วมกันแบบสหวิทยาการ |
2 (1-2-3) |
111 236 |
การศึกษาภาคบริบท 5 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการศึกษาภาคบริบท 4 การพัฒนาความคิดเกี่ยวกับการแสดงของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 การจัดโปรแกรมและดูแลคอนเสิร์ต (ส่วนบุคคล/เดี่ยว) การทางานร่วมกันแบบสหวิทยาการ (ส่วนบุคคล/เดี่ยว) |
2 (1-2-3) |
111 237 |
โครงการการแสดงของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการศึกษาภาคบริบท 5 การจัดการแสดง การนาเสนอการแสดงของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 |
2 (1-2-3) |
111 238 |
Graduate Project 1 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาโครงการการแสดงของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 การค้นคว้าหัวข้อเกี่ยวกับการทางานร่วมกันแบบสหวิทยาการ ประวัติศาสตร์ดนตรี ทฤษฎีดนตรีและการวิเคราะห์ การประพันธ์เพลง วิธีการสอน หรือหัวข้ออื่น ๆ ที่นาไปสู่การนาเสนองานปัจฉิมนิทัศน์ ปัจฉิมนิทัศน์ 1 |
3 (1-4-4) |
111 239 |
Graduate Project 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาปัจฉิมนิทัศน์ 1 การนาเสนอการค้นคว้าหัวข้อเกี่ยวกับการทางานร่วมกันแบบสหวิทยาการ ประวัติศาสตร์ดนตรี ทฤษฎีดนตรีและการวิเคราะห์ การประพันธ์เพลง วิธีการสอน หรือหัวข้ออื่น ๆ การจัดการคอนเสิร์ต การนาเสนองานปัจฉิมนิทัศน์ การผลิตเอกสารที่เกี่ยวกับโครงการ ปัจฉิมนิทัศน์ 2 |
3 (1-4-4) |
กลุ่มวิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต | ||
111 301 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 7 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวง 6 วิชาต่อเนื่องจากการบรรเลงรวมวง 6 ระดับบทเพลงที่มีความยากขึ้น และการรวมกลุ่มเครื่องดนตรีที่มีความหลากหลายมากขึ้น |
1 (0-2-1) |
111 302 |
การบรรเลงรวมวงเล็ก 8 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวง 7 วิชาต่อเนื่องจากการบรรเลงรวมวง 7 ระดับบทเพลงที่มีความยากขึ้น การรวมกลุ่มเครื่องดนตรีที่มีความหลากหลายและจากหลายยุคสมัย |
1 (0-2-1) |
111 303 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 7 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวงใหญ่ 6 วิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ ธรรมชาติของการแสดงดนตรีร่วมกันของเครื่องดนตรีหลากหลายชนิด การแสดงในตาแหน่งที่มีความเข้มข้นและยากขึ้น รวมถึงการได้มีส่วนร่วมในการแสดงเดี่ยวในบทเพลง |
1 (0-2-1) |
111 304 |
การบรรเลงรวมวงใหญ่ 8 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงรวมวงใหญ่ 7 วิธีการบรรเลงบทประพันธ์ดนตรีประเภทรวมกลุ่มขนาดใหญ่ ธรรมชาติของการแสดงดนตรีร่วมกันของเครื่องดนตรีหลากหลายชนิด การแสดงในตาแหน่งที่มีความเข้มข้นและยากขึ้น รวมถึงการได้มีส่วนร่วมในการแสดงเดี่ยวในบทเพลง |
1 (0-2-1) |
111 305 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 7 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงเปียโนประกอบ 6 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 306 |
การบรรเลงเปียโนประกอบ 8 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการบรรเลงเปียโนประกอบ 7 การบรรเลงเปียโนประกอบเครื่องดนตรีประเภทอื่น และการบรรเลงเปียโนร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อฝึกทักษะการบรรเลงดนตรีร่วมกับผู้อื่น |
1 (0-2-1) |
111 307 |
ทักษะวิชารอง 1 ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีโท (รวมถึงการขับร้องและการประพันธ์เพลง)โดยการเรียนเดี่ยว การฝึกหัดบทเพลงและแบบฝึกหัดต่าง ๆ โดยคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ พื้นฐานทางกายภาพในการบรรเลงเครื่องดนตรี บันไดเสียง อาร์เพจจิโอ การอ่านโน้ต แนวทางในการตีความบทเพลง และทักษะการแสดงต่อหน้าผู้ชม |
2 (1-2-3) |
111 308 |
ทักษะวิชารอง 2 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชารอง 1 วิชาต่อเนื่องจากทักษะวิชารอง 1 โดยฝึกทักษะในระดับที่ยากขึ้น |
2 (1-2-3) |
111 309 |
ทักษะวิชารอง 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชารอง 2 วิชาต่อเนื่องจากทักษะวิชารอง 2 โดยฝึกทักษะในระดับที่ยากขึ้น |
2 (1-2-3) |
111 310 |
ทักษะวิชารอง 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาทักษะวิชารอง 3 วิชาต่อเนื่องจากทักษะวิชารอง 3 โดยฝึกทักษะในระดับที่ยากขึ้น |
2 (1-2-3) |
111 311 |
การขับร้องประสานเสียง 3 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการขับร้องประสานเสียง 2 การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทเพลงขับร้องประสานเสียงและเทคนิคการใช้เสียง ประกอบด้วย ท่ายืน การหายใจ การวางเสียง การออกเสียงอักขระวิธี การแสดงอารมณ์ความรู้สึก การฝึกซ้อมร้องเพลงแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ทักษะการร้องประสานเสียง ประกอบด้วย การจัดความความสมดุล การปรับเสียงให้เข้ากับผู้อื่น และการใช้สีสัน |
1 (0-2-1) |
111 312 |
การขับร้องประสานเสียง 4 วิชาบังคับก่อน : สอบผ่าน วิชาการขับร้องประสานเสียง 3 การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทเพลงขับร้องประสานเสียงและเทคนิคการใช้เสียง ประกอบด้วย ท่ายืน การหายใจ การวางเสียง การออกเสียงอักขระวิธี การแสดงอารมณ์ความรู้สึก การฝึกซ้อมร้องเพลงแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ทักษะการร้องประสานเสียง ประกอบด้วย การจัดความความสมดุล การปรับเสียงให้เข้ากับผู้อื่น และการใช้สีสัน |
1 (0-2-1) |
111 313 |
การออกเสียงสาหรับการขับร้อง การใช้สัทอักษรสากล การถอดตัวอักษรภาษาอังกฤษ ภาษาอิตาเลี่ยน ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส และภาษาลาตินไปสู่สัทอักษรสากล (IPA) การออกเสียงสัทอักษรสากลที่ถูกถอดอักษรออกมา |
2 (1-2-3) |
111 314 |
ปฏิบัติการอุปรากร การศึกษาบทเพลงอุปรากร บูรณาการการร้อง การแสดง รูปแบบ ประเพณีของการแสดงอุปรากร การเตรียมบทบาท ฉาก และองค์ |
2 (1-2-3) |
111 315 |
แนวปฏิบัติการแสดงดนตรี แนวทางในการบรรเลงบทเพลงในยุคต่างๆ ประวัติศาสตร์ การปฏิบัติ แนวคิด ข้อจากัดและความนิยมของเครื่องดนตรี และแนวทางเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม |
2 (1-2-3) |
111 316 |
การอานวยเพลง พื้นฐานและเทคนิคการกากับวงดนตรีเบื้องต้น รวมถึงการอ่านสกอร์เพลง การจัดรูปแบบวงดนตรี ระบบและธรรมชาติของเครื่องดนตรี และการตีความบทเพลง |
2 (1-2-3) |
111 317 |
กลวิธีการสอนดนตรี 1 พื้นฐานการสอน กลวิธีการสอน จิตวิทยาการสอนดนตรี การสร้างความเป็นครูพื้นฐาน การสร้างและเขียนคาอธิบายรายวิชาด้านการปฏิบัติดนตรี |
2 (1-2-3) |
111 318 |
กลวิธีการสอนดนตรี 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชากลวิธีการสอนดนตรี 1 การศึกษาในระดับที่สูงขึ้นในหัวข้อของกลวิธีการสอน จิตวิทยาการสอนดนตรี การสร้างและเขียนคาอธิบายรายวิชาด้านการปฏิบัติดนตรี และการประเมินผล การฝึกสอน ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการสอนดนตรีปฏิบัติ |
2 (1-2-3) |
111 319 |
ดนตรีเพื่อประชาสังคม 5 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาดนตรีเพื่อประชาสังคม 4 กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาวะ และความต้องการของกลุ่มชุมชนที่แตกต่างกัน โดยจัดในพื้นที่หรือกลุ่มชุมชนที่แตกต่างจากดนตรีเพื่อประชาสังคม 4 และครอบคลุมกลุ่มผู้ชมที่มากขึ้น |
1 (0-2-1) |
111 320 |
ดนตรีเพื่อประชาสังคม 6 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาดนตรีเพื่อประชาสังคม 5 กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชน โดยมีความสอดคล้องกับสภาวะ และความต้องการของกลุ่มชุมชนที่แตกต่างกัน โดยจัดในพื้นที่หรือกลุ่มชุมชนที่แตกต่างจากดนตรีเพื่อประชาสังคม 5 และครอบคลุมกลุ่มผู้ชมที่มากขึ้น |
2 (0-2-1) |
111 321 |
การศึกษาดนตรีร่วมสมัย วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 4 แนวคิด เทคนิค วิธีการประพันธ์ การตีความ และแนวทางในการปฏิบัติบทประพันธ์ในศตวรรษที่ 20 และ 21 |
2 (1-2-3) |
111 322 |
ดนตรีโลก การศึกษาเปรียบเทียบดนตรีจากกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆของโลก ประวัติและพัฒนาการทางดนตรีในแหล่งวัฒนธรรมต่างๆ และความเจริญและความเสื่อมของภาวะดนตรี ปรัชญา กระบวนการถ่ายทอด พิธีกรรม คุณค่าทางสังคม เครื่องดนตรี การประสมวงดนตรี ระเบียบวิธีการปฏิบัติเครื่องดนตรี บุคคลสาคัญ ทฤษฎีทางดนตรี บทเพลง และศิลปวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดนตรี |
2 (2-0-4) |
111 323 |
วรรณกรรมดนตรี การศึกษาบทประพันธ์ที่สาคัญตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 จนถึงปัจุบัน โดยมุ่งเน้นที่วรรณกรรมดนตรีสาหรับวงออร์เคสตรา เพลงร้อง คีย์บอร์ด และเครื่องสาย |
2 (2-0-4) |
111 324 |
ดนตรีไทย วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 4 การสัมมนาหรือบรรยายหัวข้อพิเศษที่กาหนดขึ้นนอกเหนือจากรายวิชาในหลักสูตรดุริยางคศาสตร์ซึ่งเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับดนตรี |
2 (1-2-3) |
111 326 |
หัวข้อพิเศษทางดนตรี 2 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาหัวข้อพิเศษทางดนตรี 1 การสัมมนาหรือบรรยายหัวข้อพิเศษที่กาหนดขึ้นนอกเหนือจากรายวิชาในหลักสูตรดุริยางคศาสตร์ซึ่งเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับดนตรี |
2 (1-2-3) |
111 327 |
ดนตรีวิทยาเบื้องต้น ความหมาย ที่มา ขอบเขต แนวคิด และพัฒนาการของดนตรีวิทยา กระบวนการวิจัยทางด้านดนตรีวิทยา ประวัติศาสตร์ ทฤษฎี การวิเคราะห์ การวิจัยเอกสารทางประวัติศาสตร์ วิวัฒนาการของเครื่องดนตรี ประติมานวิทยา แนวทางการปฏิบัติดนตรี และสุนทรียศาสตร์ |
2 (2-0-4) |
111 328 |
มานุษยดนตรีวิทยาเบื้องต้น ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับมนุษย์ในเชิงมานุษยดุริยางควิทยา พัฒนาการขององค์ความรู้ของวิชามานุษยดุริยางควิทยา และผลต่อความเปลี่ยนแปลงในวงวิชาการดนตรีโลก กระบวนการวิจัยและแนวคิดด้านมานุษยดุริยางควิทยา และผลงานของมานุษยดุริยางควิทยาที่โดดเด่น การประยุกต์ใช้ความรู้ทางมานุษยดุริยางควิทยาในการพัฒนางานดนตรีในอนาคต |
2 (2-0-4) |
111 329 |
การตีความผ่านคีตปฏิภาณ การวิเคราะห์และตีความบทเพลงเชิงสร้างสรรค์ผ่านการวิเคราะห์เสียงประสาน พื้นฐานการฟังจากบทเพลงตัวอย่าง และการสร้างสรรค์ทานองใหม่จากเสียงประสานของบทเพลงตัวอย่าง |
2 (1-2-3) |
111 330 |
การวิเคราะห์แนวเพลง วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 4 การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของบทเพลงในยุคต่าง ๆ โดยเปรียบเทียบบทประพันธ์ของคีตกวีที่สาคัญในต่างยุคสมัย พัฒนาการและแนวคิดที่อยู่เบื้องหลังการสร้างรูปแบบทางดนตรีที่แตกต่างกัน |
2 (1-2-3) |
111 331 |
สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์ วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 4 การวิเคราะห์คีตลักษณ์และโครงสร้างของบทเพลง การพัฒนาโมทีฟ ประโยคเพลง ประโยคใหญ่ ทานองหลักและการแปร สังคีตลักษณ์ 2 และ 3 ตอน รอนโด โซนาตาและคีตลักษณ์ที่เกี่ยวข้อง และแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการประพันธ์บทเพลงโพลิโฟนิกในต้นศตวรรษที่ 18 |
2 (2-0-4) |
111 332 |
การเรียบเรียงเสียงวงดนตรี 1 วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 2 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดนตรีในวงออร์เคสตรา รวมถึง เครื่องดนตรีทดเสียง ช่วงเสียง สีสันเสียง วิธีการเล่นและคาศัพท์ การเรียบเรียงเสียงวงดนตรีเบื้องต้นสาหรับวงขนาดเล็ก |
2 (1-2-3) |
111 333 |
การเรียบเรียงเสียงวงดนตรี 2 |
2 (1-2-3) |
111 334 |
การประพันธ์ การประพันธ์ดนตรีเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและทักษะทางดนตรี ประกอบกับแนวความคิดต่าง ๆ เพื่อสร้างงานประพันธ์ดนตรีร่วมสมัย |
2 (1-2-3) |
111 335 |
การประพันธ์อิสระ การประพันธ์ดนตรีผ่านการใช้คีตปฏิภาณเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและแนวความคิดต่าง ๆ เช่น การเสี่ยงทาย เพื่อสร้างงานประพันธ์ดนตรีร่วมสมัย โดยไม่กาหนดรูปแบบหรือข้อจากัดของเครื่องดนตรีที่ใช้ |
2 (1-2-3) |
111 336 |
เทคโนโลยีการบันทึกเสียงและการผลิตงานสร้างสรรค์ทางเสียง การใช้ห้องบันทึกเสียง อุปกรณ์และเทคโนโลยีการอัดเสียง กระบวนการบันทึกเสียง การปรับแต่งผสมสัญญาณ ตัดต่อ และผลิตข้อมูลเสียง |
2 (1-2-3) |
111 337 |
การแสดงร่วมกับเทคโนโลยี ปฏิบัติการการแสดงดนตรีร่วมกับเทคโนโลยี สื่อภาพดิจิตอลและซอฟแวร์ ระบบปฏิสัมพันธ์ การออกแบบเสียง และการแสดงคีตปฏิภาณร่วมกับเทคโนโลยี |
2 (1-2-3) |
111 338 |
การแต่งทานองสอดประสานในระบบสปีชีส์ วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 4 การแต่งทานองสอดประสานโดยการจาแนกประเภทความสาพันธ์ของเสียงเป็น 5 ประเภท ได้แก่ การแต่งทานองสอดประสานแบบ 1:1 2:1 4:1 ลิเกเชอร์ และฟลอริด การแต่งทานองสอดประสาน 2-4 เสียงโดยการเติมแนวเสียงเหนือและ/หรือใต้ทานองที่ให้มา |
2 (2-0-4) |
111 339 |
การแต่งทานองสอดประสานในระบบอิงกุญแจเสียง วิชาบังคับก่อน: สอบผ่าน วิชาทักษะผู้แสดงดนตรี 4 การแต่งทานองสอดประสานสาหรับ 2-4 เสียง ในรูปแบบซึ่งเป็นที่นิยมในช่วงครึ่งแรกของ ศตวรรษที่ 18 โดยเฉพาะในงานของ เจ เอส บาค การเขียนท่อนดนตรีสวีทส์ แคนอน อินเว็นชัน และฟิวก์ |
2 (2-0-4) |